ลักษณะและชนิดของงานขัดปูน

ลักษณะของงานขัดปูน

งานขัดปูนเป็นแขนงหนึ่งของงานก่อสร้าง ซึ่งมีความสำคัญในงานก่อสร้าง ปัจจุบันงานขัดปูนเป็นงานหนักและคงทนต่อดินฟ้าอากาศ งานขัดปูนสร้างโดยวัสดุที่ทำขึ้นจากสิ่งที่ได้จากธรรมชาติและวัสดุที่ได้จากธรรมชาติผสมกัน งานขัดปูน มีลักษณะแตกต่างกันหลายแบบ เช่น ในรูปของ ขัดพื้นคอนกรีต ปูนก่อ ปูนถือ หินขัด หินล้าง เป็นต้น

ชนิดของงานขัดปูนแบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี้

  • ช่างปูนโครงสร้าง
  • ช่างปูนประณีต
  • ช่างปูนก่อสร้างและบูรณะ
  • ช่างปูนเฟอร์นิเจอร์
  • ช่างปูนสุขภัณฑ์
  • ช่างปูนชั่วคราว

ประโยชน์ที่ได้รับจากงานขัดปูน

ประโยชน์โดยทั่วไป

  • สถาปนิก สถาปนิกที่รู้เรื่องเกี่ยวกับงานขัดปูนดี จะใช้ประโยชน์ที่ได้ไป design แบบของเขาซึ่งจะใช้แบบต่างๆ ของงานขัดปูนนั้น ณ ที่ใดจึงจะเกิดประโยชน์
  • วิศวกร จะใช้ประโยชน์ที่ได้รับจากงานขัดปูนในการคำนวณหาความแข็งแรงของโครงสร้าง เพื่อประโยชน์ในการใช้ให้เหมาะสม
  • ช่างเขียนแบบ ช่างเขียนแบบที่รู้เรื่องเกี่ยวกับงานขัดปูนดี ย่อมเขียนแบบของเขาได้ดีและถูกต้อง
  • ผู้ตรวจงาน สำหรับผู้ตรวจงานนี้จะนำความรู้เกี่ยวกับงานขัดปูนไปใช้ในงานตรวจงานก่อสร้างอันเกี่ยวกับงานขัดปูนได้ดีและสามารถตรวจงานได้อย่างถูกต้องตามแบบนั้น
  • ผู้เขียนรายการ ผู้เขียนรายการที่รู้เรื่องเกี่ยวกับงานขัดปูนดีย่อมจะเขียนรายงานเกี่ยวกับงานขัดปูนได้ถูกต้องว่าจะทำอย่างไร
  • ช่างปูน ช่างปูนที่มีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับงานขัดปูนย่อมสามารถปฏิบัติงานของเขาได้ถูกต้องอย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์โดยตรง

  • ในด้านความคงทนแข็งแรง จะเห็นได้ว่างานขัดปูนเป็นงานที่คงทนต่อดินฟ้าอากาศได้ดี คงทนและถาวร ในระยะยาวนาน เช่น ถนนพื้นขัดพื้นคอนกรีต อนุสาวรีย์ สะพานพื้นขัดพื้นคอนกรีตตลอดจนตึกหลาย ๆ ชั้นเป็นต้น
  • ในด้านรูปร่างและความสวยงาม จะเห็นได้ว่างานขัดปูนนั้น เราสามารถทำเป็นรูปต่างๆ ได้ตามความต้องการ เช่น รูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม และอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งยังทำลวดลายอื่น ๆ ได้อีก เช่น การทำบัว หินขัดหินล้าง ลายหินอ่อนเทียม เป็นต้น
  • ในด้านเป็นวัสดุทนไฟ ทั้งนี้จะช่วยป้องกันหรือลดการเกิดอัคคีภัยได้เป็นอย่างดี
  • ในด้านการประหยัดเนื่องจากคุณสมบัติในด้านความทนทาน แข็งแรง จึงเป็นการประหยัดในด้านก่อสร้างไปในตัว

เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับงานขัดปูนและเก็บรักษา

เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ ในการทำงานเกี่ยวกับช่างปูนนั้นมีมากมายหลายอย่างซึ่งพอจะกล่าวได้พอสังเขปเฉพาะที่สำคัญดังนี้

  • จอบและพลั่ว ใช้ขุดดินและผสมคลุกเคล้าส่วนผสมซึ่งได้แก่ ปูน ทราย ให้เข้ากัน การเก็บรักษาหลังจากเลิกใช้งานแล้วต้องล้างให้สะอาดทุกครั้ง เพราะถ้าไม่ล้างให้สะอาดแล้วส่วนผสมก็จะเกาะมากขึ้น ๆ ทุกทีทำให้เครื่องมือชำรุดได้ง่าย
  • ตะแกรงร่อน ใช้ร่อนทรายและปูนขาวที่สกปรกหรือเป็นกากออก เพราะบางครั้งอาจจะมีสิ่งสกปรกเจือปนมากับทราย เช่น เปลือกหอยหรือหิน จำเป็นจะต้องทำให้สะอาดเสียก่อนโดยการใช้ตะแกรงร่อน ตะแกรงมีหลายขนาดแล้วแต่ลักษณะของงานนั้น ๆ
  • ไม้เมตร ใช้วัดขนาดหรือระยะต่าง ๆ ตามแบบ การใช้ต้องระวังอย่าให้ตก และต้องรักษาให้สะอาดเสมอ ถ้าเป็นเหล็กหลังจากทำความสะอาดแล้วควรชะโลมด้วยน้ำมัน
  • เกรียง เกรียงมีหลายชนิดที่สำคัญซึ่งใช้กับงานนั้นมีดังนี้ ก.เกรียงเหล็ก มีทั้งชนิด 3 เหลี่ยมและ 4 เหลี่ยม สำหรับเกรียงชนิด 3 เหลี่ยมใช้ในงานก่ออิฐ ชนิด 4 เหลี่ยมใช้สำหรับขัดมันและใช้ตีปูนขัดมันหรือตบแต่งผิวปูนฉาบในขั้นสุดท้าย ข.เกรียงไม้ ได้แก่เกรียงที่ทำด้วยไม้ใช้สำหรับตบแต่งหรือกดปูนให้เรียบ เช่นแต่งพื้นหรือฉาบปูน การเก็บรักษาเกรียงก็เช่นเดียวกันกับเครื่องมือชนิดอื่น ๆ คือหลังจากใช้แล้วต้องล้างให้สะอาด
  • กะบะไม้ถือปูน ส่วนมากใช้ใส่ปูนก่อและปูนถือ โดยตักจากถังผสมปูนมาใส่ในกะบะใส่ปูนอีกทีหนึ่ง
  • ถังน้ำหรือกระป๋องใส่ปูน ใช้สำหรับใส่ปูนที่ผสมแล้ว นอกจากนี้ยังใช้หิ้วปูนและใช้ตวงส่วนผสมได้ด้วย เลิกใช้ต้องล้างให้สะอาด
  • ปุ้งกี๋ ใช้ใส่หรือตวง หิน ทราย ในการผสมปูน
  • ลูกดิ่ง เป็นสิ่งสำคัญ ในการก่อสร้างใช้สำหรับจัดระดับในแนวดิ่ง เพราะการก่ออิฐต้องได้ดิ่งได้ระดับ ดังนั้นดิ่งจึงเป็นเครื่องมือสำคัญในงานช่างปูนมาก
  • ระดับน้ำ เป็นเครื่องมือสำคัญอีกอย่างหนึ่งพอ ๆ กับดิ่ง เพราะระดับน้ำใช้จัดระดับในการก่ออิฐในแนวนอน
  • บรรทัดยาว หรือไม้บรรทัดปาดปูน สำหรับฉาบปูนในพื้นที่กว้าง ๆ โดยใช้ ในการทำระดับทั้งแนวดิ่งและแนวนอนให้ได้ระดับเรียบเสมอกัน
  • แปรงดอกหญ้า ใช้ในงานหินขัด หินล้าง หรือในการฉาบปูน
  • ฉากเหล็ก ใช้จัดมุมต่าง ๆ ในการก่ออิฐให้ได้ฉาก
  • ด้าย ใช้สำหรับทำระดับ ในการก่ออิฐ และถือปูนให้ได้ระดับเสมอกัน
  • ดินสอ ใช้ขีดทำเครื่องหมาย
  • น้ำ ใช้เป็นส่วนผสมในงานขัดปูน ต้องสะอาด

วัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในงานขัดปูนและการเก็บรักษา

ทราย (Sand) ทรายที่ใช้ในงานก่อสร้างนั้นมีหลายชนิด ได้แก่

  • ทรายน้ำจืด ที่ใช้ในการก่อสร้างนั้น แบ่งออกเป็น
  • ทรายหยาบ เป็นทรายเม็ดใหญ่มีเหลี่ยมมุมแข็งแรงดีมาก มีสีเข้ม ใช้เป็นส่วนผสมในการทำขัดพื้นคอนกรีต (Concrete) ที่ต้องการรับน้ำหนักมาก เช่น โครงสร้างอาคาร ฐานราก เป็นต้น ทรายหยาบที่ใช้โดยทั่วไปนำมาจากราชบุรีและอ่างทอง
  • ทรายกลาง มีขนาดเล็กรองจากทรายหยาบไม่ค่อยนิยมใช้ในการผสมขัดพื้นคอนกรีตที่รับแรง หรือน้ำหนักมาก ๆ แต่ใช้สำหรับปูนก่อ เช่นก่ออิฐ ส่วนมากนำมาจากอ่างทองและอยุธยา มีสีอ่อนกว่าทรายหยาบ
  • ทรายละเอียด ไม่นิยมใช้ในการผสมขัดพื้นคอนกรีต เพราะไม่มีกำลัง และไม่มีแง่เกาะ โดยทั่วไปใช้ในการทำส่วนผสมของปูนฉาบ ทำบัว ประกอบลวดลายได้ดี ส่วนมากมักเป็นสีน้ำตาลอ่อนค่อนข้างขาว
  • ทรายขี้เป็ด ใช้สำหรับถมหรือปรับที่ เป็นวัสดุที่ใช้รองพื้นในการเทขัดพื้นคอนกรีต (Concrete)
  • ทรายน้ำเค็ม มีลักษณะเป็นเม็ดสีขาว ไม่นิยมนำมาใช้เป็นส่วนผสมในการก่อสร้าง เนื่องจากทรายชนิดนี้มีธาตุเกลือผสมอยู่จะดูดความชื้นจากอากาศมากอาจจะทำให้สิ่งก่อสร้างนั้นชื้นและชำรุดได้ง่าย

คุณสมบัติของทรายที่นำมาใช้ในการก่อสร้าง

  • ทรายเป็นหินเล็ก ๆ สามารถจะสอดแทรกเข้าไปในช่องเล็กน้อยซึ่งหินไม่สามารถจะเข้าไปได้ ทำให้เกิดเป็นช่องว่างขึ้น เป็นการทอนกำลังของขัดพื้นคอนกรีต
  • ทรายต่อต้านการยืดหดตัวได้ดี เป็นการบรรเทามิให้เกิดรอยแตกร้าวหรือรอยปริต่าง ๆเมื่อขัดพื้นคอนกรีตได้รับความร้อนหรือความเย็น
  • ทรายทำให้เกิดช่องทางให้คาร์บอนไดอ๊อกไซด์(Carbon -dioxide)เข้าไปช่วยในการแข็งตัวของปูนขาวได้เร็วขึ้น
  • ทรายเป็นส่วนช่วยเพิ่มปริมาณของส่วนผสม เพราะทรายหาได้ง่าย ราคาถูกและแข็งแรงด้วย

หมายเหตุ ทรายทุกชนิดที่จะนำมาใช้นั้น อาจจะมีสิ่งสกปรกเจือปนอยู่ เช่นเปลือกหอย หินหรือวัสดุอื่น ติดมา ก่อนใช้ต้องนำมาร่อนด้วยตะแกรงเสียก่อน

การเก็บรักษาทราย

  • ถ้าทรายเก็บไว้ชั่วคราว ควรนำมากองไว้โดยใช้ไม้กั้นรอบฐานของกองทรายนั้นเพื่อป้องกันทรายทะลายลง
  • ถ้าต้องการเก็บไว้นาน ๆ ควรทำถังขัดพื้นคอนกรีตเก็บ เพื่อป้องกันการละลายลงนาน ๆ จะปนไปกับเนื้อดิน

ประโยชน์ของทราย

ทรายมีประโยชน์หลายอย่างเกี่ยวกับงานก่อสร้าง ใช้ทรายเป็นส่วนผสมของขัดพื้นคอนกรีตและมอร์ต้า (mortar) ใช้ทรายรองแบบในการก่อสร้าง เป็นต้นนอกจากในการก่อสร้างแล้ว ทรายยังใช้พ่นสีขัดผิวหน้าของโลหะ เช่น การทำกระจกฝ้า ทำเครื่องแก้ว กระจกเม็ดทราย เป็นต้น

ซีเมนต์ (Cement)

ซีเมนต์เป็นวัสดุสำคัญมากอย่างหนึ่งในงานขัดปูน ซีเมนต์มีลักษณะเป็นผงละเอียด เมื่อถูกน้ำจะทำปฏิกริยาทางเคมี ทำให้แข็งตัวขึ้นจนแข็ง

การผลิตปูนซีเมนต์ในประเทศไทยนั้น บริษัทปูนซีเมนต์ไทยได้ผลิตมานานแล้ว เป็นที่รู้จักกันดีทั้งในและต่างประเทศใกล้เคียง ปูนที่บริษัทผลิตมี ตราเสือ ตราช้าง และเอราวัณ ปัจจุบันนี้มีบริษัทที่ผลิตปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้นใหม่คือ บริษัทชลประทานซีเมนต์ ผลิตตราพญานาค และตรางู

ชนิดของซีเมนต์ แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ

  • ซูเปอร์ซีเมนต์ (Supper cement) คือซีเมนต์ที่มีผงละเอียด ทำโดยการเผาส่วนผสมของซิลิกา (silica) และ Alumina กับเหล็กออกไซด์เล็กน้อย เผาจนกลายเป็นปูนเม็ด แล้วนำไปบดให้เป็นผงละเอียด
  • คุณสมบัติพิเศษ สามารถแข็งตัวได้ในน้ำ ใช้ในงานที่ต้องการความรวดเร็ว เพราะแข็งตัวและรับน้ำหนักได้เร็ว เหมาะสำหรับใช้ในงานที่ต้องการให้รับแรงได้เร็วขึ้น ผลิตโดยบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย ใช้ตราเอราวัณ
  • ปอร์ตแลนด์ ซีเมนต์ (Portland Cement) คือ ซีเมนต์ที่บดหยาบกว่าซูเปอร์ซีเมนต์ วิธีการทำ คือ บดหินปูน + ดินขาว เข้าด้วยกัน แล้วเอาส่วนผสมนี้เติมน้ำกวนให้เข้ากันดีแล้วนำไปเผาในหม้อเผา (รูปทรงกระบอกโต หมุนได้) ซึ่งใช้อุณหภูมิสูงประมาณ 1400 ซ - 1500 ซ องศา จนกลายเป็นปูนเม็ด แล้วจึงนำไปบดให้ละเอียดผสมกับยิบซัม (หินฟันม้า)เล็กน้อย
  • ซีเมนต์ชนิดนี้ใช้ในงานก่อสร้างชั้นดีทั่ว ๆ ไป บริษัทที่ผลิตมี 2 บริษัทใช้ตรา "ช้าง" และตรา"พญานาค"
  • ซิลิก้า ซีเมนต์ (Silica Cement) คือซีเมนต์ที่มีส่วนผสมของทรายประมาณ 22 % กับซีเมนต์ปอร์ทแลนด์ 78 % ซีเมนต์ชนิดนี้ประชาชนทั่วไปนิยมใช้กันมาก เพราะราคาถูก และขัดพื้นคอนกรีตหรือปูนทราย ยืด หดตัวน้อย บริษัทปูนซีเมนต์ไทยผลิต ใช้ตรา "เสือ" ส่วนบริษัทชลประทานใช้ตรา "งู" เป็นเครื่องหมายการค้า

การเก็บรักษาซีเมนต์

  • ปูนซีเมนต์ที่ไม่บรรจุด้วยถุงกระดาษจากโรงงาน ไม่ควรเก็บไว้นานเพราะคุณภาพอาจเสื่อมได้ง่าย
  • พยายามใช้ปูนที่ใหม่เสมอ อย่าเก็บไว้นานเกิน 1 เดือนในหน้าฝนและ 3 เดือนในหน้าร้อน
  • อย่าวางปูนซีเมนต์บนพื้นซีเมนต์หรือพื้นดิน เพราะอาจถูกความชื้นจากไอดินข้างล่าง
  • อย่าให้ซีเมนต์ถูกน้ำหรือความชื้นต่าง ๆ
  • ถ้าไม่จำเป็นอย่าวางซ้อนกันมากเกินไป (15 ถุง)

ปูนขาว (Lime)

  • ปูนขาวได้จากการเผาหินปูน (Lime Stone) และเปลือกหอยเผาแล้วบดให้ละเอียดเรานำใช้ในงานขัดปูนได้หลายอย่าง เช่น
  • ผสมกับทรายและซีเมนต์ เป็นปูนก่อ ใช้ในการก่ออิฐ ถือปูน และฉาบปูน
  • ใช้ผสมน้ำและสี สำหรับทาสีผนังตึก
  • ใช้เป็นส่วนผสมในการทำซีเมนต์

คุณสมบัติของปูนขาว

  • ดูดน้ำ
  • ละลายตัวในน้ำ
  • ฆ่าเชื้อโรค
  • ถ้าละลายตัวจะหมดคุณสมบัติฆ่าเชื้อโรค

เวลานำปูนขาวมาใช้จะต้องผสมกับทราย คลุกเคล้าให้เข้ากันดี ร่อนเอาวัตถุอื่นออกเสียก่อนแล้วแช่น้ำหมักไว้อย่างน้อย 24 ช.ม. จึงนำไปใช้

อิฐ (Brick)

เป็นวัตถุที่ทำมาจากดินเหนียว ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นวัสดุก่อสร้างมาตั้งแต่สมัยโบราณประมาณ 2000 ปีมาแล้ว อียิบต์เป็นชาติแรกที่ได้นำดินเหนียวมาทำเป็นแท่งสี่เหลี่ยมแล้วผึ่งแดดใช้ทำเป็นอิฐ ต่อมาชาวบาบิโลเนียคิดค้นขึ้นใหม่ โดยนำอิฐมาเผาไฟเพื่อให้คงทนยิ่งขึ้น ดินเหนียวที่นำมาใช้ทำอิฐนั้น ต้องมีส่วนผสมของทรายและแมงกานีส ผสมอยู่ในดินเหนียวในอัตราที่พอเหมาะ จึงจะทำให้อิฐไม่เปราะและแตกร้าวง่าย

วัสดุที่ใช้ทำอิฐ ได้แก่ดินเหนียว ซึ่งมีชนิดต่างๆดังนี้

  • ดินเหนียวปูน (Marl) เป็นดินเหนียวที่มีปูนผสมอยู่มาก โดยมีลักษณะเป็นดินขาวหรือหินปูน ดินชนิดนี้เมื่อทำอิฐแล้วจะมีสีเหลืองหรือสีอื่นๆ
  • ดินเหนียวปนทราย (Loam) เป็นดินเหนียวที่มีทรายผสมอยู่ด้วย ถ้ามีทรายผสมอยู่ไม่เกินร้อยละ 25 จะช่วยให้อิฐคงรูปอยู่ได้ ถ้ามีทรายมากกว่านี้จะทำให้อิฐเปราะ ไม่แข็งแรง
  • ดินเหนียวแก่ (Shale) เป็นดินเหนียวซึ่งกองอยู่เป็นเวลานาน มีคุณภาพคล้ายหิน ดินชนิดนี้มักทำให้อิฐเป็นสีแดง
  • ดินเหนียวทนไฟ (Fire Clay) เป็นดินเหนียวที่มีคุณภาพ ทนความร้อนได้สูง ใช้ทำอิฐทนไฟ มีแร่เหล็กผสมอยู่มากจึงทำให้อิฐแข็งแรง มีกำลังและมีสีแดง
  • อิฐเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในงานขัดปูน เพราะในการก่อสร้างต่างๆจำเป็นต้องใช้อิฐจำนวนมาก

ส่วนมากอิฐจะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดของอิฐโดยทั่วไปความกว้างจะเป็นสองเท่าของความหนา และความยาวจะเป็นสองเท่าของความกว้าง

การทำอิฐ มีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้

การเตรียมดิน นำดินเหนียวมาบดหรือนวดจนทำให้ดินอ่อนนุ่ม ถ้าเป็นอิฐที่ต้องการให้มีน้ำหนักเบา เช่น อิฐมอญ ให้ใช้แกลบหรือขี้เถ้าผสมลงในดินเหนียวให้เข้ากันให้ดีจนดินเหนียวผสมอ่อนนุ่มดี สามารถปั้นหรืออัดเป็นแผ่นแล้งคงรูปอยู่ได้ตามชนิดของอิฐนั้นๆ

การทำแผ่นอิฐ มีวิธีทำได้ 2 วิธี คือ

 

  • ทำด้วยมือ โดยใช้แบบพิมพ์ตามขนาดเท่าแผ่นอิฐที่ต้องการ ใช้ดินเหนียวผสมทรายหรือแกลบที่เตรียมไว้อัดลงไปในแบบพิมพ์ให้แน่น แล้วปาดผิวหน้าแผ่นอิฐให้เรียบ และถอดไม้ออก จะได้แผ่นอิฐตามที่ต้องการ จากนั้นนำแผ่นอิฐไปในที่เรียบป้องกันการบิดงอเพื่อทำการผึ่งให้แห้งแล้วนำเข้าเตาเผาต่อไป
  • การทำด้วยเครื่องจักร จะผลิตได้รวดเร็วและได้ขนาดที่เป็นมาตรฐาน ที่เครื่องจักรมีบ่อสำหรับใส่ดินผสมต่อเนื่องกับท่อให้ดินออก เมื่อดินเหนียวผสมถูกบดอัดออกจากบ่อแล้วไหลไปตามท่อ ระหว่างที่ดินเหนียวผ่านออกไปตามท่อ ก็จะถูกตัดให้ได้ขนาดความยาวตามกำหนดด้วยเส้นลวดขนาดเล็ก (ขนาดความโตของท่อภายในมีความหนา ความกว้าง และความยาวตามขนาดของอิฐที่ต้องการ ) เมื่อได้แผ่นอิฐแล้ว ก็นำไปวางเรียงไว้ในที่เรียบเพื่อทำการผึ่งให้แห้งต่อไป

 

การผึ่งให้แห้ง เมื่อได้แผ่นอิฐออกจากแบบพิมพ์แล้ว ก็นำอิฐไปวางเรียงไว้ในโรงผึ่ง ขณะที่วางเรียงแผ่นอิฐต้องทำอย่างระมัดระวังเพราะอิฐยังเปียกอยู่อาจทำให้บิดงอได้ง่าย ต่อจากนั้นก็ผึ่งไว้ให้แห้งหรือหมาด แล้วจึงนำไปเข้าเตาเผาต่อไป

การเผาอิฐ เมื่อก้อนอิฐแห้งพอที่จะเผาได้ ก็นำไปเรียงเป็นแถวและวางซ้อนกันเป็นชั้นๆสลับกันในเตาเผา โดยให้ช่องว่างระหว่างแถวไว้ เพื่อให้ความร้อนกระจายไปถึงอิฐทุกๆก้อนในเตาเผา ให้เพิ่มความร้อนทีละน้อยจนถึงความร้อนสูงสุด ( ความร้อนระหว่าง 982.2 – 1204o ซ ) เผาอยู่นานประมาณ 2-3 สัปดาห์ ลดความร้อนให้ต่ำลงตามลำดับจนเย็น จึงนำอิฐออกจากเตาเผาเพื่อนำไปใช้งานในการก่อสร้างต่อไป

ลักษณะที่ดีของอิฐ

  • มีผิวเรียบสม่ำเสมอ ไม่บิดงอ แตกร้าวเมื่อเผาสุก
  • เมื่อเคาะจะมีเสียงแกร่งคล้ายโลหะ
  • 3. มีสีสม่ำเสมอเท่ากันทุกก้อน
  • มีความเหนียว ไม่แตกง่ายและมีน้ำหนักเบา
  • มีความแข็งแรง ทนทาน และรับน้ำหนักได้มาก
  • มีรูปร่างเรียบร้อยดี ไม่แอ่นบิด หรือมีขอบขรุขระ
  • เหลี่ยมและมุมได้ฉาก
  • มีขนาดและน้ำหนักเท่ากันทุกก้อน (โดยเฉลี่ย)
  • ไม่ดูดน้ำเกิน 10 % ของน้ำหนักอิฐเมื่อแช่น้ำไว้ 24 ชั่วโมง
  • มีเนื้อแน่น เมื่อหักออกไม่มีรูพรุนและแตกร้าว
  • ต้านทานแรงอัดสูงสุดได้ไม่น้อยกว่า 20 กก./ซม3

ชนิดของอิฐ

ในปัจจุบันอิฐมีหลายชนิด ทั้งที่ทำด้วยมือและเครื่องจักร ซึ่งพอจะแบ่งได้ ดังนี้คือ

ก. อิฐมอญ เป็นอิฐที่คนมอญที่อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทยเป็นผู้ทำขึ้นขายเป็นอาชีพ จึงเรียกว่า “ อิฐมอญ” เป็นอิฐชนิดที่ทำด้วยมือโดยใช้ส่วนผสมของดินเหนียว แกลบ และทราย เมื่อปั้นเสร็จแล้วก็นำไปเผาจนสุก แกร่งดี จึงนำไปใช้งาน อิฐมอญเป็นอิฐที่นิยมใช้กันมาก มีราคาถูก เหมาะสำหรับก่อกำแพง หรือก่อผนังที่ต้องมีการฉาบปูนทับผิวอีกครั้ง ลักษณะเป็นอิฐที่มีผิวขรุขระไม่เรียบร้อยนัก บางชนิดที่ผิวต้องทำเป็นรอยเส้นไว้บนแผ่นอิฐ เพื่อเป็นที่ยึดเกาะของปูนก่อ บางชนิดทำเป็นรูไว้ในแผ่นอิฐตลอดความยาวเพื่อให้น้ำหนักเบา อิฐมอญมีทั้งแบบเก่าและแบบใหม่ ซึ่งมีขนาดดังนี้

อิฐมอญแบบเก่า มีขนาด หนา x กว้าง x ยาว = 4x10x20ซม. (โดยประมาณ) ใช้ก่ออิฐชนิด 1/2 แผ่น คือก่อผนังธรรมดาเรียงตามยาวเอาหัวชนกัน ใน 1 ม2 (ตารางเมตร) จะใช้อิฐประมาณ 100 ก้อน

อิฐมอฐแบบใหม่ มีขนาดเล็กลง บางทีเรียกว่าอิฐไทย มีขนาดประมาณ 3.5 x 8 x 17 ซม. ก่ออิฐชนิด 1/2 แผ่นใน 1 ม2 จะใช้อิฐประมาณ 125 ก้อน

ข. อิฐบางบัวทอง (บ.บ.ท) หรืออิฐที่มีลักษณะคล้ายๆกัน เช่นอิฐบางปะกง ( บ.ป.ก.) ซึ่งเรียกชื่อตามสถานที่ตั้งโรงงาน เป็นอิฐที่ใช้ดินเหนียวบดละเอียด แล้วอัดให้แน่นด้วยเครื่องจักร ภายในแผ่นอิฐมีเนื้อแน่น ผิวหน้าเรียบ และมีร่องสำหรับให้ปูนเกาะยึด เหมาะกับงานที่ต้องการโชว์ผิวหน้า มีขนาด 7 ซม.กว้าง 11 ซม. และยาว 23 ซม. หรือ 7x11x23 อิฐ บ.บ.ท. นี้ ถ้าใช้ก่อชนิด 1/2 แผ่น ใน 1 ม2 จะใช้อิฐประมาณ 50-55 แผ่น

ค. อิฐเคลือบ (Grazed Brick) เป็นอิฐที่ในขณะเผามีความร้อนสูง แล้วใช้สารบางอย่างใส่ลงไปในเตาเผา เช่น เกลือ ก็จะทำให้สารนั้นไปเคลือบผิวของอิฐ หรือบางชนิดก็นำอิฐมาพ่นด้วยสาร เช่น เกลือ ให้เคลือบผิวก่อน แล้วจึงนำไปเผา

ง. อิฐเคลือบสี (Enamelled Brick) โดยการทาสีเคลือบลงบนแผ่นอิฐแล้วนำไปเผา มีคุณสมบัติกันน้ำได้ ใช้ในงานตกแต่งและใช้ในส่วนที่ต้องทำความสะอาดบ่อยๆ เช็ดล้างออกได้ง่าย ทั้งยังช่วยในการสะท้อนแสงสว่างภายในอาคาร มีสีขาวนวล สีดำ สีเขียว และสีอื่นๆ

. อิฐทนไฟ (Fire Blocks) มีขนาดพอ ๆ กับอิฐ บ.บ.ท. แต่มีคุณสมบัติพิเศษ สามารถทนความร้อนได้ดีคืออุณหภูมิที่จุดหลอมตัวประมาณ 1700 ซ ทำจากดินเหนียวทนไฟ ใช้ประโยชน์สำหรับงานที่ต้องทนความร้อน เช่นทำเตาเผา ใช้ก่อเตาไฟ หรือก่อผนังที่ต้องการให้ทนความร้อนสูงๆเป็นต้น

ฉ. อิฐแก้ว (Glass Blocks) เป็นอิฐที่ทำด้วยแก้ว ภายในมีช่องว่างบรรจุอากาศอยู่เพื่อใช้ประโยชน์ในกรณีที่ต้องการให้มีแสงสว่างเข้ามาในอาคาร แต่ไม่ต้องการให้มีการถ่ายเทอากาศ วัตถุที่ใช้ในการประสานในการก่อนั้น ควรเป็นวัสดุพิเศษที่ทำโดยเฉพาะเป็นผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศ

ช. อิฐพิมพ์ซีเมนต์ ใช้ซีเมนต์ผสมกับทรายในอัตราส่วน 1:4 ผสมน้ำหมาด ๆ แล้วนำเข้า

แม่พิมพ์ ๆ ออกมาเป็นก้อน อาจจะพิมพ์ด้วยมือและเครื่องจักรก็ได้ ขณะนิ้อิฐชนิดนี้ได้มีบริษัทคิดทำแบบและลวดลายแปลก ๆ สวยงาม มีหลายขนาดเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายในการก่อสร้างและตกแต่งสถานที่เพื่อความสวยงาม

 

สีของอิฐ

เกิดจากชนิดของธาตุที่ผสมอยู่ในดินเหนียว มีดังนี้ คือ

  • เกิดจากส่วนผสมของดินที่มีธาตุเหล็ก เมื่อเผาแล้วเกิดเป็นสีเหลืองเข้ม สีแดง สีส้ม
  • เกิดจากส่วนผสมของดินที่มีธาตุแมงกานีส เมื่อเผาสุกแล้วเกิดเป็นสีน้ำเงิน และถ้าเผาด้วยความร้อนสูงจะกลายเป็นสีดำ
  • ส่วนผสมของอิฐที่มีแป้งและชอล์ก เมื่อเผาสุกแล้วเป็นสีขาว
  • ส่วนผสมของดินที่มีธาตุแมงกานีสและเหล็กรวมกัน เมื่อเผาสุกแล้วจะทำให้เกิดสีเหลืองแก่
  • สีอาจเกิดจากการได้รับความร้อนต่างกัน เช่น ได้รับความร้อนสูงสีจะแก่กว่า ได้รับความร้อนน้อยสีจะอ่อน

ตารางที่ 4.1 แสดงขนาดของอิฐชนิดต่างๆ

ชนิดของอิฐ

ความหนา (ซม.)

ความกว้าง (ซม.)

ความยาว (ซม.)

อิฐมอญ

อิฐ บ.บ.ท.

อิฐเคลือบอังกฤษ

อิฐเคลือบอเมริกา

อิฐทนไฟ

อิฐแก้ว

5.0

7.0

7.5

5.6

7.5

8.0

9.0

11.0

11.0

10.3

11.3

19.0

20.0

23.0

22.5

20.9

22.5

19.0

หมายเหตุ

  • อิฐมอญมีขนาดไม่มาตรฐาน ผู้ใช้ควรสอบถามขนาดจากโรงงานผู้ผลิตให้แน่นอนก่อนใช้
  • การนำอิฐไปใช้ ต้องเลือกชนิดของอิฐให้เหมาะสมกับลักษณะของงานที่จะทำ

 

หินและกรวด (Stone)

หินและกรวดที่ใช้ในงานก่อสร้างจะต้องมีเนื้อแน่นปราศจากรูพรุน ก่อนใช้ต้องล้างให้สะอาด

หิน เป็นวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มี 3 ชนิด

  • หินที่เกิดจากความส่วนหลอมเหลวภายใต้ผิวโลก เรียกว่า หินอัคนี
  • หินที่เกิดจากการทับถมของแร่ธาตุต่างๆ เรียกว่าหินชั้น
  • หินที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก เรียกว่า หินแปร

หินที่ใช้ในงานก่อสร้างมีหลายขนาด เช่น หินเกล็ด ใช้กับงานทำหินล้าง หินขัด และกระเบื้องแผ่น เป็นต้น หิน 2 ใช้ในงานขัดพื้นคอนกรีตทั่วไป ใช้กับงานฐานราก หิน 4 ใช้กับงานเขื่อนและลงพื้นถนน หรือบางทีก็เรียกหินใหญ่

กรวด เป็นส่วนหนึ่งของหินที่แตกออกมา แล้วถูกกระแสน้ำพัดพาไปตามลำน้ำต่างๆ นานเข้าการเสียดสีทำให้หมดเหลี่ยมคม มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน เช่น กลม แบน จึงไม่ค่อยยึดกับส่วนผสม และนิยมใช้กรวดตกแต่งเพื่อความสวยงาม เช่น ตามผนังที่ต้องการโชว์

เหล็ก (Iron)

เหล็กที่ใช้ในงานก่อสร้าง ควรเป็นเหล็กเหนียวมีกำลังต้านทานได้มาก แล้วแต่ชนิดของงาน เหล็กที่ใช้ต้องไม่เป็นสนิม ตามปกติแล้ว ความโตของเหล็กที่ใช้ในงานขัดปูน เรียกเป็นหุน และยาวเป็นเมตร

น้ำ

  • น้ำที่ใช้ในงานขัดปูนและขัดพื้นคอนกรีต มีผลต่องานขัดปูนและขัดพื้นคอนกรีตมาก เกี่ยวกับประสิทธิภาพของงานจะดี แข็งแรง ดังนั้นน้ำที่นำมาผสม จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้คือ สะอาด ไม่มีวัสดุอื่นเจือปน
  • น้ำจืด ไม่มีรสกร่อย เพราะน้ำที่มีอินทรียวัตถุเจือปนอยู่ หรือน้ำที่ระบายทิ้งออกมาจากโรงงาน ย่อมเป็นน้ำที่ไม่สะอาด ไม่ควรนำมาผสมโดยเด็ดขาด เพราะจะเป็นอันตรายอย่างร้ายแรงต่องานขัดปูน และขัดพื้นคอนกรีต

หน้าที่ของน้ำในขัดพื้นคอนกรีต

  • ช่วยทำให้ขัดพื้นคอนกรีตเหลว สามารถที่จะไหลไปตามแบบได้ง่าย
  • ทำหน้าที่เป็นเชื้อประสานของซีเมนต์กับส่วนผสม
  • ทำให้ผิวหินและทรายเปียก ปูนจับได้ง่าย
  • น้ำที่ใส่ขัดพื้นคอนกรีตอย่าให้น้อยหรือมากเกินไป ถ้าน้อยจะทำให้ขัดพื้นคอนกรีตล่อน รับกำลังไม่ได้ ถ้ามากเกินไปจะทำให้ขัดพื้นคอนกรีตรับกำลังได้น้อยกว่าที่ควร

ชนิดและส่วนผสมของงานขัดปูน

ปูนก่อ (Mortar)

ปูนก่อ คือส่วนผสมของวัสดุต่างๆ ที่ใช้เป็นเครื่องประสานงานยึดอิฐให้แน่น ติดต่อกันในการเรียงอิฐ หรือก่ออิฐ

ส่วนผสมของปูนก่อ โดยทั่วไปมีส่วนผสม ดังนี้

  • ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
  • ปูนขาว 1-2 ส่วน
  • ทรายหยาบ 3-5 ส่วน

วิธีการผสม

  • วัสดุที่นำมาผสมต้องสะอาด
  • วัสดุที่จะผสมต้องตวงให้ได้ส่วนตามที่กำหนด
  • ร่อนปูนขาวให้สะอาดผสมกับทรายหยาบ คลุกเคล้าให้เข้ากันดี แต่ยังไม่ต้องเติมน้ำ
  • ผสมซีเมนต์ลงไปตามอัตราส่วนที่กำหนด คนให้เข้ากันดี ยังไม่เติมน้ำ
  • เติมน้ำลงไปทีละน้อย คลุกเคล้าจนมีลักษณะเหนียวดี
  • จำนวนของปูนที่ผสมต้องพอดีกับงานหรือพอดีกับเวลาปฏิบัติงาน ถ้าเหลือต้องทิ้งห้ามนำมาใช้ในวันต่อไป เพราะปูนเสื่อมคุณภาพ
  • ถ้าเป็นงานชั่วคราวหรือการฝึกงาน ไม่จำเป็นต้องผสมซีเมนต์ลงไปก็ได้

ปูนฉาบหรือปูนถือ

สำหรับงานขัดพื้นคอนกรีต การถือปูนเป็นของจำเป็นมาก เพราะต้องการให้ผิวหน้าเรียบ มีเนื้อแน่น จะได้ทนทานต่อการสึกกร่อน โดยการใช้เกรียงตักส่วนผสมของซีเมนต์ ปูนขาว และทรายละเอียดตามส่วนที่กำหนด ถูไปมาเพื่อผิวหน้าจะได้เรียบและสวยงาม

ส่วนผสมของปูนฉาบ

  • ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
  • ปูนขาว 1-2 ส่วน
  • ทรายละเอียด 3-5 ส่วน

เครื่องมือที่ใช้ในงานขัดปูน มี

  • เกรียงไม้ เกรียงเหล็ก
  • กะบะแบ่งปูน
  • บรรทัดไม้
  • ระดับ และ ดิ่ง
  • บัวรดน้ำ

 

วิธีผสมปูนฉาบ

  • เอาปูนขาวและทรายละเอียดแห้งผสมกันตามส่วนที่กำหนด ให้เข้ากันดี
  • ร่อนส่วนผสมของทรายละเอียดกับปูนขาวด้วยตะแกรงที่ตาถี่ๆ
  • นำเอาส่วนผสมที่ร่อนแล้วใส่ในกะบะผสมปูน เติมน้ำทิ้งไว้เพื่อให้ส่วนผสมเหนียวตัวดี
  • ใสซีเมนต์ผสมลงไปตามอัตราส่วน
  • ใส่น้ำผสมกันให้ดีอย่าให้เหลวมาก แล้วตักนำไปใช้ฉาบ

 

วิธีการฉาบปูน

  • ถ้าหากว่าบริเวณที่จะฉาบปูนหรือถือปูนสูง ต้องทำนั่งร้านให้เรียบร้อยเสียก่อน
  • เตรียมเครื่องมือให้พร้อม
  • ถ้าหากเป็นกำแพงใหม่ ต้องรดน้ำให้เปียกเสียก่อน เพื่อปูนจะได้จับแน่น ถ้ากำแพงเก่าต้องสะกัดให้ขรุขระเสียก่อน เพื่อปูนจะได้จับแน่น
  • การฉาบต้องฉาบจากบนลงล่าง เพื่อป้องกันส่วนที่ฉาบแล้วไม่ให้สกปรกจากเศษปูนที่ตกลงมา
  • ถ้ากำแพงยาวควรแบ่งออกเป็นช่องๆขนาดไม้บรรทัดยาว โดยทำความหนา(ระดับ)เป็นช่องๆก่อน
  • การฉาบควรฉาบ 2 ครั้ง ครั้งแรกลงพื้นก่อนหนาประมาณ 1 ซม. และครั้งที่สองเป็นการแต่งผิวให้เรียบ
  • การฉาบต้องให้ได้ระดับทั้งทางตั้งและทางนอน
  • ก่อนพักงานถ้างานยังไม่สำเร็จ ต้องขูดผิวปูนให้ขรุขระเอาไว้ก่อน เพื่อเวลาทำต่อใหม่ปูนจะได้ยึดติดกันดี
  • เมื่อเลิกงานต้องทำความสะอาดเครื่องมือให้เรียบร้อย

ปูนสลัดเม็ดหรือปูนซัด

ปูนสลัดเม็ด คือการทำปูนนอกเหนือจากการฉาบปูนผิวเรียบ นิยมใช้ตามกำแพงและรั้วบ้าน หรือผนังต่างๆ

เครื่องมือทำปูนสลัด

  • เกรียงเหล็ก 1 อัน
  • แปรงหางม้าชนิดทาสี ขนาด 3.5 นิ้ว 1 อัน
  • บัวรดน้ำขนาดเล็กๆ 1 ใบ
  • ถังเหล็กใส่ปูน 1 ใบ
  • ไม้กวาดทางมะพร้าว 1 กำ ตัดปลายเหลือยาวประมาณ 15 นิ้ว
  • ไม้เคาะ 1 อัน

วิธีทำปูนสลัดเม็ด

  • ผนังที่จะทำการสลัดปูน ต้องถือปูนทับหน้าให้เรียบร้อย
  • ก่อนสลัดปูนผนัง ต้องราดน้ำให้เปียกชุ่มเสียก่อน
  • ใช้ปูนซีเมนต์ผสมกับน้ำให้เหลวๆ ทาให้ทั่วเสียก่อน
  • ผสมปูนซีเมนต์ 1 ส่วน ทรายหยาบที่ร่อนแล้ว 2 ส่วน ให้เข้ากันดี อย่าให้เหลวมาก
  • ใช้ไม้กวาดทางมะพร้าวจุ่มลงไปในส่วนผสม เพื่อให้ส่วนผสมนั้นติดกับส่วนปลายของทางมะพร้าว แล้วยกไม้กวาดทางมะพร้าวนั้นสลัดเข้าที่ผนัง โดยใช้ไม้เป็นตัวรองรับไม้กวาดทางมะพร้าว เพื่อให้ส่วนผสมที่ติดอยู่กับไม้กวาดทางมะพร้าวกระเด็นไปติดผนังที่ต้องการทำ จนพอกับความต้องการ เสร็จแล้วทิ้งไว้ให้หมาด ใช้เกรียงลูบแต่งผิวของปูนสลัดทีหลัง
  • พื้นปูนสลัดเมื่อเสร็จแล้ว ผิวปูนจะขรุขระเหมือนผิวมะกรูด ถ้าต้องการให้เป็นดอก ก็ใช้เกรียงลูบๆ ถ้าให้ดอกใหญ่ก็ลูบให้หนักมือหน่อย
  • ถ้าต้องการให้เป็นสี ก็เลือกเติมสีฝุ่นลงไป

ปูนทราย (Mortar)

คือส่วนผสมของปูนซีเมนต์และทราย ใช้ทับหรือแต่งหน้าฉาบหน้างานขัดพื้นคอนกรีตให้เรียบร้อยสวยงาม หรือใช้สำหรับเทพื้นชนิดบาง

  • ส่วนผสมของปูนทราย
  • ซีเมนต์ 1 ส่วน
  • ทรายหยาบ 3-4 ส่วน

วิธีการผสม

  • ตวงส่วนผสมของทรายและปูนซีเมนต์ลงในกะบะผสมปูน
  • คลุกเคล้าแห้งๆจนส่วนผสมเข้ากันดี
  • ผสมน้ำลงไป คลุกเคล้ากันให้ทั่ว
  • ส่วนผสมนี้ ต้องนำไปใช้ให้หมดภายใน 30 นาที หลังจากผสมเสร็จ ถ้าเกินกว่านี้ปูนเริ่มแข็งตัว เสื่อมคุณภาพ

หมายเหตุ เทพื้นหนา 1 นิ้ว ขนาด 1 ตารางวา ต้องใช้ปูนประมาณ 30 ก.ก. ใช้ทรายประมาณ 5-7 ปีบ

ขัดพื้นคอนกรีต (Concrete)

ขัดพื้นคอนกรีต คือส่วนผสมของปูนซีเมนต์ ทราย หิน และน้ำ ใช้สำหรับงานที่มี ความแข็งแรง ทนทาน และต้องรับน้ำหนักมาก

ขัดพื้นคอนกรีตหยาบ ใช้สำหรับงานที่รับแรงมาก เช่น ฐานราก มีส่วนผสมโดยทั่วไป ดังนี้

  • ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
  • ทราย 3 ส่วน
  • หิน 5 ส่วน
  • หรือที่เรียกกันโดยทั่วๆไปว่า ส่วนผสม 1:3:5

ขัดพื้นคอนกรีตธรรมดา ใช้สำหรับทั่วๆไป เช่น พื้น ถนน กันสาด ระเบียง ส่วนผสมโดยทั่วๆไป มีดังนี้ (วัดปริมาตร)

  • ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
  • ทราย 2 ส่วน
  • หิน 4 ส่วน
  • หรือที่เรียกกันโดยทั่วๆไปว่า ส่วนผสม 1:2:4

วิธีการผสมขัดพื้นคอนกรีต

  • ทำความสะอาดทราย หิน ที่เตรียมไว้ใช้งาน
  • ตวงทรายและซีเมนต์ลงในกะบะผสมปูนตามส่วน คลุกเคล้าให้เข้ากันดีจนเห็นเป็นเนื้อเดียวกัน
  • ผสมหินย่อยลงไปตามส่วน ผสมให้เข้ากันดี
  • เติมน้ำสะอาดลงไปให้พอเหมาะ คลุกเคล้าให้เข้ากันดี
  • นำส่วนผสมไปเทลงในไม้แบบที่เตรียมเอาไว้
  • ก่อนเทต้องราดน้ำแบบให้เปียกเสียก่อน
  • ถ้างานไม่เสร็จ ตรงรอยต่อต้องทำให้ขรุขระไว้ เพื่อเวลาเทขัดพื้นคอนกรีตต่อ ขัดพื้นคอนกรีตจะยึดติดกันดี
  • เวลาเทตรงรอยต่อเก่า ต้องทำความสะอาดเสียก่อน แล้วใช้น้ำผสมกับซีเมนต์ราดพื้น จะได้เป็นน้ำประสานกันแน่น
  • ขณะกำลังเทต้องกระทุ้งให้แน่น อาจใช้เครื่องเขย่าขัดพื้นคอนกรีต หรือเหล็กปลายแหลม
  • เมื่องานเสร็จแล้วต้องบ่มขัดพื้นคอนกรีต หรือใช้น้ำราดให้ขัดพื้นคอนกรีตชุ่มชื้นอยู่ตลิดเวลา ชั่วระยะหนึ่งขัดพื้นคอนกรีตจึงจะแข็งแรงทนทาน

ตารางวัสดุที่ใช้ในการผสมคอนขัดพื้นคอนกรีต จำนวน 1 ม.3 (1 คิว)

 

อัตราส่วนผสม

ปูน : ทราย : หิน

ปูนซีเมนต์

.ก.

ทราย

3

หินเบอร์ 2

3

1: .5 : 3

1: 2 : 3

1 :2 : 4

1 :2 : 5

400

370

320

240

0.45

0.50

0.45

0.50

0.90

0.80

1.00

0.90

วิธีก่อและแบบของการเรียงอิฐ

ตารางเครื่องมือและวัสดุที่ใช้ในการก่ออิฐ

เครื่องมือในการก่ออิฐ

วัสดุ

1. ดิ่งพร้อมทั้งสาย

2. เชือก ด้ายหลอด พร้อมตะปู

3. ระดับน้ำและดิ่ง

4. เกรียงเหล็ก

5. พลั่วหรือจอบ

6. ไม้เมตร

7. กระป๋องใส่ปูน

8. ฉาก

อิฐมอญ

ทรายหยาบ

ปูนขาว

ซีเมนต์

น้ำสะอาด

การปฏิบัติในการก่ออิฐ

  • ร่อนทรายและปูนขาวให้สะอาด
  • ผสมปูนก่อโดยใช้ปูนขาวกับทราย 1:2 หรือ 1:3
  • หมักปูนขาวทิ้งไว้ค้างคืน หรือหลายๆวันก็ได้
  • เอาปูนขาวผสมกับทรายและซีเมนต์ตามอัตราส่วนคือ 1:1:3 หรือ 1:2:5 โดยประมาณ โดยใช้พลั่วหรือจอบผสม
  • ใส่น้ำลงไปผสมให้พอเหมาะ อย่าให้เหลวเกินไป
  • ปรับระดับที่จะก่ออิฐให้ได้ระดับ
  • ล้างอิฐหรือนำอิฐไปจุ่มน้ำให้ชุ่ม เพื่อป้องกันอิฐดูดน้ำปูน จะทำให้ร้าวได้ภายหลัง
  • จัดการก่ออิฐเป็นขั้นๆ สลับกันให้ถูกต้องตามประเภทการก่อ ห้ามไม่ให้ก่อตอนใดตอนหนึ่ง ซึ่งอยู่ในแนวเดียวกันสูงกว่า 1 เมตร
  • ปูนที่ใช้ก่อไม่ควรหนากว่า 1 ซม. แต่ไม่น้อยกว่า .5 ซม. และต้องเกลี่ยให้ปูนก่อเต็มหน้าแผ่นอิฐเก่า
  • การวางอิฐใหม่ให้วางห่างจากรอยต่อประมาณ 3 ซม. ใช้กดหลังให้เลื่อนไปชิดอิฐ เพื่อให้ปูนจับอิฐแน่น และแทรกระหว่างหัวต่อของอิฐนั้น
  • เมื่อก่ออิฐไปได้สัก 2-3 ชั้น จะต้องใช้ระดับจับเพื่อทดสอบแนวนอนให้ได้ระดับเดียวกันทั้งหัวท้าย จากนั้นอาจจะใช้เชือก หรือด้ายหลอด ขึงจับระดับของการก่ออิฐแต่ละชั้นก็ได้ นอกจากนี้ยังจะต้องใช้ดิ่งทดสอบในแนวดิ่ง เพื่อให้ตั้งฉากและป้องกันการก่ออิฐโค้งไปมา จะทำให้ฉาบปูนยาก และสิ้นเปลืองวัสดุตลอดทั้งเวลาด้วย
  • ถ้าจะก่ออิฐที่ก่ออยู่แล้ว ต้องทำความสะอาดตรงส่วนที่จะต่อ และเอาน้ำสาดให้เปียกโชก

แบบของการเรียงอิฐ

การก่ออิฐนั้นมีอยู่หลายแบบ ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสมตามลักษณะงานนั้นๆ งานเรียงอิฐเป็นงานหัตถกรรมใช้กันมาแต่โบราณ นิยมเรียงกันทางขวาง (Header) และเรียงตามยาว

(Stretcher) ซึ่งพอจะแยกออกเป็นแบบของการเรียงได้ดังนี้

  • แบบ Stretching Bond
  • แบบ English Bond
  • แบบ Flemish Bond
  • แบบ Garden Bon

Stretching Bond

การเรียงอิฐทำได้ง่าย คือแต่ละชั้นสลับรอยต่อกัน รอยต่อจะอยู่ตรงกับกึ่งกลางแผ่นของชั้น ต่อไป ตอนสุดกำแพงชั้นหนึ่งๆ ใช้อิฐ 1/2 แผ่น เป็นกำแพงที่ประหยัด แต่ไม่เหมาะที่จะรับน้ำหนัก

English Bond

คือการเรียงอิฐยาว โดยเรียงชั้นที่ 1 เรียงตามยาว (Stretcher) อีกชั้นหนึ่งเรียงขวาง (Header) สลับกัน รอยต่อของอิฐทางขวางอยู่ตรงกลางแผ่น อิฐทางยาว มุมสุดกำแพงใช้อิฐ 1/2 แผ่น อิฐ เรียกว่า Closer การเรียงแบบนี้แน่น หนามาก เพราะอิฐทุกชั้นมีการยึดเหนี่ยว กันดี กำแพงแบบนี้รับน้ำหนักได้ดี

Flemish Bond

คือเรียงอิฐชั้นหนึ่งๆไปตามยาวและกว้างสลับกันไป เป็นการก่ออิฐเต็มแผ่น แต่ชั้นสลับรอยต่อกันตลอดกำแพง เมื่อสุดกำแพงให้เสริมด้วย Stretcher การเรียงแบบนี้สวยงามมาก นิยมใช้ในอาคาร ไม่ควรรับน้ำหนักมาก

การเรียงอิฐแบบ Flemish Bond

Garden Bond

แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

ก. English Garden Wall Bond เรียงอิฐเหมือนแบบ English Bond ผิดกันที่ให้เรียงยาว 3-6 ชั้น แล้วสลับด้านกว้าง 1 ชั้น อย่างนี้เรื่อยไป

. Flemish garden Wall Bond เรียงอิฐเหมือนแบบ Flemish Bond ผิดกันที่สลับแผ่นอิฐ Flemish Bond สลับแผ่นอิฐทางกว้าง และยาวตามแผ่นต่อแผ่น แต่ Flemish Garden Wall Bond วางทางยาว 3 แผ่น แล้วสลับด้วยทางกว้าง

สรุป

 

งานขัดปูน มีความสำคัญมากสำหรับการก่อสร้างในปัจจุบัน เพราะผลงานที่ได้จะมีความแข็งแรง และทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศมากกว่า นอกจากนั้นยังสามารถก่อสร้างในรูปแบบที่สวยงาม มีลวดลายต่างๆได้ตามความต้องการ และเนื่องจากงานขัดปูนมีความทนทาน แข็งแรง จึงเป็นการประหยัดในด้านการก่อสร้างไปในตัว

เครื่องมือที่ใช้ในงานขัดปูนนั้น มีมากมายหลายชนิด และมีความจำเป็นในแต่ละด้าน สำหรับเครื่องมือที่ใช้ในการผสมปูน ก่ออิฐ ถือปูน เมื่อใช้เสร็จแล้ว จะต้องล้าง ทำความสะอาดทุกครั้ง

วัสดุที่ใช้ในงานขัดปูน ที่สำคัญได้แก่ ก) ทราย เป็นส่วนผสมในการผสมปูน ทรายมีหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีคุณสมบัติที่ดีเลวต่างกัน ข) ซีเมนต์ เป็นวัสดุที่สำคัญมากในงานขัดปูน ซีเมนต์แต่ละชนิด ก็เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการความแข็งแรงต่างกัน ค) ปูนขาว เป็นส่วนผสมสำหรับปูนก่อ ปูนฉาบ ง) อิฐ ทำจากดินเหนียว ส่วนมากจะผลิตเป็นก้อนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดโดยทั่วไปความกว้างจะเป็น 2 เท่าของความหนา และความยาวจะเป็น 2 เท่าของความกว้าง จ) หินและกรวด ใช้เป็นส่วนผสมในงานขัดพื้นคอนกรีต

ชนิดและส่วนผสมของงานขัดปูนจะมีหลายอย่าง เช่น ปูนก่อ ปูนฉาบ ปูนซัด ปูนทราย และขัดพื้นคอนกรีต ซึ่งปูนที่ใช้แต่ละงานก็จะมีส่วนผสมในอัตราที่แตกต่างกัน

การก่ออิฐ เป็นงานที่สำคัญอย่างหนึ่งของงานขัดปูน รูปแบบในการก่ออิฐมีหลายแบบ และในการก่ออิฐก็จะมีวิธีการในการปฏิบัติ เพื่อให้ได้งานที่ประณีต สวยงาม และมีความทนทานไปในตัว

ขอขอบคุณขอมูลจากคุณชาลี ลัทธิ, คุณวรพงษ์ ลีพรหมมา, คุณชวิน เป้าอารีย์ และ คุณสุรเดช สุทธาวาทิน

ค้นหา

นับจำนวนผู้เข้าชม

00677189
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
236
130
1473
601326
2863
7400
677189

Your IP: 98.82.120.188
Server Time: 2024-09-13 04:39:11